วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2553

ส่งงาน

ผลที่ไดจากการrun คือ

โค้ดการสร้างปฎิทิน
$a= date(j); // , 1 to 31
$b = date(a); // am,$c = date(A); // AM,
$d = date(B); // Swatch Internet time 000 -999
$e = date(d); // , 01 to 31
$f = date(D); // , sat
$g = date(F); // , November
$h = date(g); // , 1 through 12
$hh = date(G); // , 0 through 23
$i = date(h); // , 01 through 12
$j = date(H); // , 00 through 23
$k = date(i); // , 00 to 59
$l = date(I); // 0, 1 if Daylight Savings Time, 0 otherwise.
$m = date(l); // , Sunday through Saturday
$n = date(L); // 0, 1 if it is a leap year, 0 otherwise.
$o = date(m); // , 01 through 12
$p = date(M); // , Jan through Dec
$q = date(n); // , 1 through 12
$r = date(o); // Example: +0200
$s = date(r); // Example: Thu, 21 Dec 2000 16:01:07 +0200
$t = date(s); // 00 through 59
$u = date(S); // st, nd, rd or th. Works well with j
$v = date(t); // 28 through 31
$w = date(T); // time zoneseting Examples: EST, MDT ...
$x = date(u); // See also time()
$y = date(w); // 0 (for Sunday) through 6 (for Saturday)
$z = date(W); // Example: 42 (the 42nd week in the year)
$aa = date(y); // Examples: 99 or 03
$bb = date(Y); // Examples: 1999 or 2003
$cc = date(z);
$dd = date(Z);

if(!$mon){
$mon = $o ;
}else{
$mon = $mon ;

}
if(!$year){
$year = $bb ;
}else{
$year = $year;
}
$firstday = mktime(0,0,0,$mon,1,$bb);
$firstdays = date('w',$firstday);
$lastdays = date('t',$firstday);
$year_view = date('Y',$firstday);
$mon_view = date('m',$firstday);
echo"










";
////
for($i = 0; $i < 7 ; $i++){
if($firstdays == $i){
break;
}
else{
echo"";}
$week++;

}
for($i=1; $i<=$lastdays ;$i++){
if($week % 7 == 0){
echo"";
}
if($a == $i)
{ $bgcolor = "bgcolor=pink";
}else{
$bgcolor = '';
}

if($week%7==0){
echo"";
}else if($week%7==6){
echo"";
}else{//
echo"";
}
$week++;
}

while($week%7!=0){
echo"";
$week++;
}
echo"
< $year_view -
$mon_view >
อา
พฤ
$i$i$i

";
?>

วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

คำศัพท์ชนิดการเก็บงาน

VARCHAR (ย่อมาจาก Variable Character Field อ่านว่า วาร์คาร์ หรือ วาร์ชาร์) หมายถึงกลุ่ม
ข้อมูลตัวอักขระที่ไม่สามารถระบุความยาวได้ คำนี้มักใช้เป็นชนิดข้อมูลในระบบจัดการฐานข้อมูล ชนิดข้อมูลประเภท varchar สามารถเก็บข้อมูลตัวอักขระขนาดเท่าใดก็ได้ที่ไม่เกินความยาวที่จำกัดไว้ การจำกัดความยาวก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละฐานข้อมูล

TINYINT : สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น

TEXT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดยสูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ

DATE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ. 1000 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD

SMALLINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT

MEDIUMINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT

INT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647 ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 4294967295 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT

BIGINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 64 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -9223372036854775808 ไปจนถึง 9223372036854775807 เลยทีเดียว (แบบคิดเครื่องหมาย)

FLOAT[(M,D)] : ที่กล่าวถึงไปทั้งหมด ในตระกูล INT นั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หากเราบันทึกข้อมูลที่มีเศษทศนิยม มันจะถูกปัดทันที ดังนั้นหากต้องการจะเก็บค่าที่เป็นเลขทศนิยม ต้องเลือกชนิดขอฟิลด์เป็น FLOAT โดยจะเก็บข้อมูลแบบ 32 บิต

DOUBLE[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต สามารถเก็บได้ตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308, 0 และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308

DECIMAL[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง

DATETIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1000 เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS

TIMESTAMP[(M)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YYMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ว่าจะระบุค่า M เป็น 14, 12, 8

TIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทเวลา มีค่าได้ตั้งแต่ -838:59:59 ไปจนถึง 838:59:59 โดยจะแสดงผลออกมาในรูปแบบ HH:MM:SSYEAR[(2/4)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทปี ในรูปแบบ YYYY หรือ YY แล้วแต่ว่าจะเลือก 2 หรือ 4 (หากไม่ระบุ จะถือว่าเป็น 4 หลัก) โดยหากเลือกเป็น 4 หลัก จะเก็บค่าได้ตั้งแต่ ค.ศ. 1901 ถึง 2155 แต่หากเป็น 2 หลัก จะเก็บตั้งแต่ ค.ศ. 1970 ถึง 2069

CHAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ

TINYBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี ได้แก่ ไฟล์ข้อมูลต่างๆ, ไฟล์รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดีย เป็นต้น คือไฟล์อะไรก็ตามที่อัพโหลดผ่านฟอร์มอัพโหลดไฟล์ในภาษา HTML โดย TINYBLOB นั้นจะมีเนื้อที่ให้เก็บข้อมูลได้ 256 ไบต์

TINYTEXT : ในกรณีที่ข้อความยาวๆ หรือต้องการที่จะค้นหาข้อความ โดยอาศัยฟีเจอร์ FULL TEXT SEARCH ของ MySQL เราอาจจะเลือกที่จะไม่เก็บข้อมูลลงในฟิลด์ประเภท VARCHAR ที่มีข้อจำกัดแค่ 256 ตัวอักษร แต่เราจะเก็บลงฟิลด์ประเภท TEXT แทน โดย TINYTEXT นี้ จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 256 ตัวอักษร

BLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่สามารถเก็บข้อมูลได้ 64KB

MEDIUMBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 16MB

MEDIUMTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร

LONGBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 4GB

LONGTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร

SET : สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่ยอมให้เลือกได้ 1 ค่าหรือหลายๆ ค่า ซึ่งสามารถกำหนดได้ถึง 64 ค่า

ENUM(Enumeration) >> หมายถึงเซตของข้อมูลชุดหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้แน่นอนและทราบค่าทุกตัว ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะคงที่BINARY
ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น

BOOL คือข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False)

VARBINARY คือ มีลักษณะการเก็บคล้าย Varcha คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์

วันพุธที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2552

การติดตั้ง appserv-win32-2.5.9

การติดตั้ง appserv-win32-2.5.9
ดาวโหลดโปรแกรม appserv-win32-2.5.9 มาจาก kitt.kvc.ac.th แล้วทำการ Save ลงในเครื่อง จากนั้นให้เราดับเบิ้ลคลิ๊กที่ appserv -win32-2.5.9 เพื่อทำการติดตั้ง จากนั้นใหเราคลิ๊ก Next จากนั้นมันจะแสดงรายละเอียดเงื่อนไขการ GNU License ให้เราตอบ I agee จากนั้นเครื่องจะให้เราเลือกปลายทางการติดตั้งโปรแกรม AppServ ว่าจะไปอยู่ที่ไหน ให้เราตอบ Next จากนั้นให้เราเลือก Package Components ที่ต้องการติดตั้ง โดยมีทั้งหมด 4 Package ให้เราคลิ๊กทั้งหมด จากนั้นตอบ next จากนั้นเครื่องแสดงการกำหนดค่าคอนฟิกค่า Apache Web Server ช่องที่ 1 ให้เราใส่คำว่า localhost ช่องที่ 2 ใส่เมล์เราก็ได้ ช่องที่ 3 จะเป็นค่าที่ตั้งมาแล้วไม่ต้องเปลื่ยนให้เราตอบ Next จากนั้นให้เรากำหนด password แล้วตอบ Install แล้วเครื่องจะถามเราว่าจะ แสดงหน้าจอขั้นตอนสิ้นสุดการติดตั้งโปรแกรม AppServ หรือไม่ เราตอบ Finish แล้วเครื่องก้อจะทำการติดตั้ง เป็นเส็จเรียบร้อยในการติดตั้ง appserv-win32-2.5.9
(ถ้าเราต้องการที่จะเรียกใช้โปรแกรม appserv -win32-2.5.9 เราเข้าไปที่ Internet แล้วพิมพ์คำว่า localhost แล้วกด Inter )

วันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ส่งคำศัพท์

Vocaburaly
1.Database ชุดของข้อมูลที่รวมเอาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเป็นเรื่องราวเดียวกันรวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นชุดข้อมูล
2.DBMS (data base management system) ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการฐานข้อมูล ช่วยในการสร้างข้อมูล เพิ่มข้อมูล ลบข้อมูล เรียกใช้ข้อมูล
3.Database Administrators : DBAs บุคลากรที่ทำหน้าที่บริการและควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูล ทั้งหมดเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรเข้าในระบบ จัดเก็บโดยวิธีใด เทคนิคการเรียกใช้ข้อมูล
4.Database Developmentโปรแกรมสำเร็จรูปจัดการฐานข้อมูล เช่น Microsoft Access หรือ Lotus Approach อนุญาตให้ผู้ใช้พัฒนาฐานข้อมูลตามที่ต้องการได้โดยง่าย อย่างไรก็ตามระบบผู้รับบริการและผู้ให้บริการ
5.Data Definition Language : DDL เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล (Database Schema) ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา (Schema)
6.Data Interrogationความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสอบถาม
7.Graphical and Natural Queriesผู้ใช้ ( และผู้เชี่ยวชาญสารสนเทศ) หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์8.Application Developmentโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูลมีบทบาทหลักในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สามารถใช้ภาษาโปรแกรมยุคที่สี่ (4GL Programming Language) และสร้างเครื่องมือพัฒนาซอฟต์แวร์จากโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูล
9.Data Manipulation Language : DML เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล (Database Schema) ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา10.Subject Area Database : SADB ฐานข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง
11.Analytical Databaseเก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้
12.Multidimensional Database ให้การสนับสนุนสำหรับฐานข้อมูลขนาดใหญ่มาก
13.Data Warehouses เก็บข้อมูลปัจจุบันและปีก่อนๆ โดยดึงจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการต่างๆ ขององค์กร เป็นแหล่งข้อมูลส่วนกลางที่ได้ถูกคัดเลือก แก้ไข จัดมาตรฐาน และรวบรวมเพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์ธุรกิจ การวิจัยตลาด และสนับสนุนการตัดสินใจ คลังข้อมูลอาจแบ่งออกเป็นตลาดข้อมูล
14.Distributed Databasesการกระจายสำเนา (Copies) หรือบางส่วนของฐานข้อมูลไปยังแม่ข่ายเครือข่ายหลายๆ สถานที่ ฐานข้อมูลแบบกระจายนี้สามารถติดตั้งอยู่บนเครื่องแม่ข่ายเครือข่าย World Wide Web บนอินทราเน็ตขององค์กร หรือเอ็กซ์ทราเน็ต ฐานข้อมูลแบบกระจายอาจจะสำเนาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการหรือฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์
15.End User Databasesประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง เช่น ผู้ใช้อาจจะมีเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หลายๆ สำเนาที่ได้ดาวน์โหลดจาก World Wide Web จากโปรแกรมสำเร็จรูปประมวลผลคำ หรือรับจากไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
16.Field เป็นหน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขฟระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว เป็นต้น
17.Record จะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลฟูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
18.Table จะเป็นการนำเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เช่น ตารางลูกค้า จะประกอบด้วยเรอร์ดของลูกค้าที่เป็นลูกค้าแต่ละราย
19.Entity เป็นคำที่อ้างอิงถึง บุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบสั่งซื้อ และลูกค้า เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้างระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า เอนทิตี้ของระบบ นี้จะประกอบด้วย เอนทิตี้ลูกค้า ใบสั่งซื้อสินค้า และสินค้า
20.InfraStucture Management คือการจัดทำระบบการบริหารงานคุณภาพ โครงสร้างพื้นฐาน การควบคุมคุณภาพ

วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2552

ส่งคำศัพท์ 50 คำ

ส่งคำศัพท์ 50 คำ
1. Controllers คอนโทลเลอร์ การควบคุบ
2. Essentially เอสเซ้นเทียร์รี่ อย่างเป็นธรรมชาติ
3. Storge สโตก การเก็บ
4. Connect คอนเน็ค การเชื่อมต่อ
5. Standard แสตนดาร์ด มาตราฐาน
6. Initially อินนิเทียร์รี่ เบื้องต้น
7. Popular ป๊อบพูล่า ยอดนิยม
8. Evolation อิโวเลชั่น วิวัฒนาการ
9. integrated อินทีเกรท รวม
10.Created ครีเทจ การสร้าง
11. Combined คอมบิเน็ด รวมกัน
12. Separete เซพพาเรด แยก
13. Another อะโนเตอร์ อีกหนึ่ง
14. Combining คอมบินิง รวม
15. Developed ดีวีโลพ พัฒนา
16. Offerring ออฟเฟอร์ริ่ง ที่เสนอ
17. performance เฟอฟอร์แมนซ์ การกระทำ
18. manufacturer แมนูแฟคเจอร์ ผลิต ,ทำ
19. Almost ออลโมท เกือบจะ
20. Acyual แอ็คทรัล ที่เกิดขึ้นจริง
21. Cannot แคนน็อต ไม่สามารถ
22. transmittion ทรานมิสชั่น การส่งต่อสัญญาณ
23. frustration ฟรัสเทร'เชิน ความขัดข้องใจ
24. Singnall ซิงนอล สัญญาณ
25. Spicific สปีซี่ฟิค เฉพาะ
26. Anything แอนนิติ้ง สิ่งใด
27. Corract ครอเรท ที่ถูกต้อง
28. frustration ฟรัสเทร'เชิน ความขัดข้องใจ
29. Position โพสสิทราน ตำแหน่ง
30. Support ซับพรอท สนับสนุน
31. Infroms อินฟรอม แจ้ง
32.proprietary โพรพรีทารี่ กรรมสิทธิ์
33. architecture อาร์คิเทค'เชอะ สถาปัตยกรรม
34.Innovations อินนะเว'เชิน สิ่งใหม่,วิธีการใหม่,นวัตกรรม
35.Introduced อินโทรดิว คำนำ,แนะนำ
36.Interchangeably อินเตอร์ชาร์จเอเบิล สับเปลี่ยนกัน
37.Connecting คอนเน็คชั่น การต่อ
38.Universal ยูนิเวอร์แซล หลาย, ครอบจักรวาล
39.Internal อินเทอนอล ภายใน
40.Electronics อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการพัฒนาและการใช้อุปกรณ์และระบบที่เกี่ยวกับการวิ่งของอิเล็กตรอน

41.Provides โพลวิท ให้บริการ
42.Originally ออริจินอล ดังเดิม
43.Determines ดีเทอมาย ตัดสินใจ
44.Increased อินคริส เพิ่ม
45.Management แมนเนตเมน การจัดการ
46.Increased อินคริส เพิ่มขึ้น
47.Variations วาเรียชั่น รูปแบบต่างๆ
48.Compatibility คอมพาทิบิลิตี้ ความเข้าก้นได้
49.Maintaining เมนเทนแน็นท์ การบำรุงรักษา
50.Removable รีมูพเอเบิล สามารถเคลื่อนที่ได้

วันพฤหัสบดีที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ส่งงานบทที่ 6

1. ให้นักศึกษาอธิบายความหมายของส่วนประกอบและปุ่มต่าง ๆ

1. คือ เฟรม ที่ใช้แสดงลำดับภาพนิ่งแต่ละส่วน
2. คือ ตัวกำหนดเวลาในการแสดงผล (ยิ่งน้อย ยิ่งดูคลาสิก)
3. คือ ปุ่มควบคุมการวนซ้ำ ถ้า Forever คือวนรอบไปเรื่อยๆ ถ้าวนรอบ 1 รอบใช้ Once
4. คือ ปุ่มควบคุม ที่ใช้แสดงตัวอย่างของภาพ Animation หรือจะกระโดดไปที่ดฟรมอื่นๆ ตามที่ต้องการใช้5. คือ ปุ่มสร้างภาพ Animation อย่างต่อเนื่อง ที่โปรแกรมคำนวณเฟรมอยู่ระหว่างเฟรมเริ่มต้นและเฟรมสุดท้าย
6. คือ ปุ่มสร้างเฟรมใหม่ วึ่งจะใช้เมื่อต้องการสร้างรูปแบบการเคลื่อนไหวใหม่ๆ เข้าไป7. คือ ปุ่มลบเฟรม เอาไว้ลบเฟรมที่ไม่ต้องการทิ้งไป
2.ให้นักศึกษาอธิบายวิธีการสร้างตัวอักษรเคลื่อนไหวแบบ Fade
1. สร้างไฟล์ขนาด 250*89 pixel, Resolution 72, Mode RGB, Backgroud Write
2. เลือกเครื่องมือ Type Tool จากนั้นคลิกพิมพ์ข้อความ
3. ให้ทำการคัดลอกเลเยอร์ ( Duplicate layer)จนครบอีก 3 อัน และทำการแก้ไขในแต่ละเลเยอร์
4. ไปที่เมนู Windows ---Animation เพื่อทำการเรียกเมนูเคลื่อนไหวออกมา
5. ทำการคัดลอกเฟรมให้ได้ 4 เฟรม โดยไปที่ปุ่ม Duplicates Select Frames
6. กำหนดเวลาทุกเฟรม โดยกด (Shift+คลิกแต่ละเฟรมX) จากนั้นไปที่มุมเวลาเฟรมสุดท้ายคลิกแล้วจะปรากฏเวลาขึ้นมาให้เลือก เลือก 1 วินาที
3. ให้นักศึกษาอธิบายวิธีการสร้าง Gallery ภาพถ่ายให้กับเว็บไซต์
1. สร้างโฟลเดอร์ไว้สำหรับเก็บไฟล์ที่ต้องการ
2. สร้างไฟล์ขนาด 400 pixels*300 pixels แล้วเก็บไว้ในโฟลเดอร์
3. ไปที่เมนู file---Automate---Web Photo Dally--จะปรากฏดังจอภาพ
4. เลือกรูปแบบหรือสไตล์ที่ชอบ(ซึ่งจะหฃปรากฏตัวอย่างให้ดู) คลิกเลือกปุ่มโฟลเดอร์แหล่งของภาพที่สร้างไว้ (ข้อ1) คลิกเลือกเส้นทางที่จะเก็บงานที่สร้าง Gally (จะต้องไม่ซ้ำกับโฟลเดอร์แหล่งภาพ) เลือกคุณสมบัติของภาพ แล้วตอบ OK

วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ส่งงานบทที่ 5

1. ให้นักศึกษาอธิบายวิธีการสร้างปุ่มและอักษร 3 มิติ
1.ทำการสร้างไฟล์ขึ้นมาใหม่ โดยกำหนดขนาด 300*135 ความละเอียด 72
2.เลือกเครื่องมือ rectangular tool แดรกเมาส์ตีกรอบสี่เหลี่ยม
3.เลือกเครื่องมือ Gradient Tool เลือกเฉดสีที่จะทำการไล่เฉดสี
4.ย่อเส้นปะเข้ามาอีก 10 จุด โดยไปที่เมนู Select >> Modify >> Contact ใส่ตัวเลข 10 แล้วกดปุ่ง Ok
5.แดรกเมาส์จากขวาไปซ้าย
6.ไปที่เครื่องมือ Type Tool เพื่อทำการพิมพ์อักษร
7.ไปที่เมนู Layer >> Type >> Conveert to Shape จะเห็นกรอบข้อความจากนั้นไปที่ Edit >>Transform >> Perspective แดรกเมาส์ที่มุมเพื่อปรับเปลี่ยนให้เป็นไปตามรูปทรงที่ต้องการแล้วกด Enter เมื่อได้ภาพที่ต้องการ

8.ทำอักษรให้นูนโดยไปที่ Layer >> Layer Style >> Bevel and Emboss แล้วก็ปรับเอาตามความต้องการ
9.เมื่อปรับเสร็จตามความต้องการแล้วก็กดปุ่ม Ok
2.ให้นักศึกษาอธิบายวิธีการสร้างตัวอักษรลำแสง

1.สร้างไฟล์ขึ้นมา ขนาด 500*350 ความละเอียด 100
2.เลือกเครื่องมือ Paint Tool เทสีลงไปตามต้องการ เพื่อเป็น Background
3.เลือกเครื่องมือ Type Tools เพื่อพิมพ์ตัวอักษร
4.กดคีย์บอร์ด Ctrl+J เพื่อ Duplicate Layers จากนั้นเปลี่ยนสีตัวอักษรที่ Copy มา หลังจากนั้นทำการซ่อน Layer ที่ Copy มา จากนั้นก็คลิกรวม Layer โดยกดคีย์บอร์ด Ctrl+E
5.ไปที่เมนู Filter >> Stylize >> Wind แล้วติ๊กเครื่องหมาย หน้าช่อง Wind และ From the Right ( Layer คลิกอยู่ที่ Background )
6.กดคยืบอร์ด Ctrl+J เพื่อ Duplicate Layers แล้วไปที่เมนู Filter >> Stylize >> wind แล้วติ๊กเครื่องหมาย หน้าช่อง Wind และ From the Right ( Layer คลิกอยู่ที่ Background )

3.ให้นักศึกษาอธิบายความหมายของเครื่องมือต่อไปนี้

1.เป็นตัวเชื่อมระหว่าง Layer
2.เป็นส่วนที่ใส่ Effecf เช่น แสง เงา
3.เป็นส่วนที่เพิ่มเติม Mak หรือ เพิ่ม Layer
4.เป็นส่วนที่ใช่ปรัค่าแสงความสว่าง ปรับค่าสี ความคมชัด
5.เป็นส่วนที่สร้าง Fonder สำหรับเก็บ Layer
6.เป็นเครื่องหมายการสร้าง Layer ขึ้นมาใหม่
7.เป็นปุ่มที่ใช่ลบ Layer ที่ไม่ต้องการ